การสร้างความเชื่อมั่นในองค์กรมีผลทั้งในด้านบุคคลและธุรกิจ ความเชื่อมั่นช่วยสร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนการทำงานทีม, ปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลง, และเสริมความรับผิดชอบ. การสนับสนุนการสื่อสาร, โปร่งใสในองค์กร, และการให้โอกาสในทีมช่วยสร้างความเชื่อมั่น การวัดและประเมินความเชื่อมั่นเป็นส่วนสำคัญของการบริหารจัดการ, และการลงทุนในการพัฒนาทักษะและความรู้ช่วยเสริมความเชื่อมั่นในการทำงาน. ทั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งของการสร้างองค์กรที่มีประสิทธิภาพและสามารถสร้างความสำเร็จในทางธุรกิจได้
เพื่อสร้างบรรยากาศที่สร้างสรรค์และสนับสนุนการทำงานที่มีประสิทธิผลในองค์กรไม่มาจากการดำเนินการทุกขั้นตอนอย่างมีเหตุผล. การประเมินความเชื่อมั่นภายในองค์กรเป็นหนึ่งในขั้นตอนสำคัญที่นำพาสู่การพัฒนาทีมและการปรับปรุงประสิทธิผลขององค์กร
1. กำหนดเป้าหมายและกลุ่มเป้าหมาย
การเริ่มต้นด้วยการกำหนดเป้าหมายที่ชัดเจนและกำหนดกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการให้เข้าร่วมในการประเมินความเชื่อมั่น. คำถามสำคัญคือ “เราต้องการผลลัพธ์อะไรจากการประเมินนี้” และ “กลุ่มใดจะมีผลกระทบมากที่สุดในการสร้างบรรยากาศที่สร้างสรรค์”
2. สำรวจตัวเลือกในการทำแบบสำรวจ
การเลือกวิธีการทำแบบสำรวจที่เหมาะสมเป็นเรื่องสำคัญ การใช้แบบสำรวจออนไลน์, สัมภาษณ์, หรือการสำรวจกลุ่มเป้าหมายเป็นต้น ควรพิจารณาความเหมาะสมของแต่ละวิธีการตามวัตถุประสงค์และลักษณะขององค์กร
ในบางกรณีพนักงานบางคนอาจะไม่สะดวกใจในการระบุตัวตนของตนเองลงไปในเเบบประเมินเช่น การใส่ชื่อเต็มหรือรหัสพนักงาน บริษัทจึงควรคำนึงให้ดีว่าการประเมินเเบบไหนต้องมีรายละเอียดของการระบุตัวตนของพนักงานมากน้อยเเค่ไหน เพื่อการได้รับข้อมูลที่เป็นความจริงในการตอบเเบบประเมินของพนักงาน เช่นการต้องให้คอมเมนต์เกี่ยวกับหัวหน้างานของตนหรือเพื่อนรวมง่าน บางคนอาจรู้สึกไม่ปลอดภัยที่จะระบุตัวตนของตนเอง
3. ระบุรูปแบบและวิธีการทำแบบสำรวจ
เลือกวิธีการสร้างแบบสำรวจที่เหมาะกับวัตถุประสงค์ของการประเมิน อาจจะเลือกวิธีการทำเเบบประเมินออนไลน์หรือ การทำเเบบประเมินเเบบสัมภาษณ์ตัวต่อตัวเฉพาะกลุ่มที่สนใจเพื่อให้ได้รับข้อมูลที่ลึกมากขึ้นเเละได้ถามคำถามเพิ่มเติมเมื่อสงสัย บางคนอาจะรู้สึกไม่สบายใจที่จะให้คำตอบที่เป็นความจริง 100% ในการทำเเบบประเมินเเบบสัมภาษณ์ตัวต่อตัว เพื่อเลือกรูปแบบของแบบสอบถามที่ดีที่สุด ควรพิจารณาจำนวนพนักงานเเละระยะเวลาที่ผู้ร่วมสำรวจใช้ในการทำเเบบประเมิน รวมถึงคำถามเเละข้อมูลจุดประสงค์ที่ต้องการทราบ
4. วิเคราะห์ข้อมูลและรายงานผล
ผู้บริหารมีความความจำเป็นที่จะต้องประเมินความเชื่อและความไว้ใจอย่างเป็นครั้งคราวเพื่อเข้าใจภาพรวมที่แม่นยำเกี่ยวกับพนักงาน เนื่องจากว่าความเชื่อมั่นเเละความไว้ใจของพนักงานสามารถเปลี่ยนเเปลงได้ตลอดเวลาขึ้นอยู่กับสถานที่ในการทำงาน เช่นผู้บริหารบางท่านอาจะต้องการให้พนักงานทำเเบบประเมินทุกครึ่งปีหรือทุกหนึ่งปี ในทางกลับกันถ้าผู้บริหารต้องการรับรู้ความคิดเห็นของพนักงานที่มีต่อองค์กรเพื่อนำไปปรับปรุงอาจจะให้พนักงานทำเเบบประเมินเป็นรายเดือน
5. ดำเนินการตามผลการประเมิน
คำถามที่ใส่ในเเบบประเมินสามารถเป็นได้ทั้งคำถามที่ให้พนักงานตอบคะเเนนเป็น Sclae ช่วยในเรื่องของความรวดเร็วในการทำเเบบประเมิน หรือตอบคำถามเป็นปลายเปิดเพื่อต้องการให้พนักงานใส่ความรู้สึกส่วนตัวของตัวเองลงไปได้
การประเมินความเชื่อมั่นภายในองค์กรไม่เพียงแค่เป็นกระบวนการวัดสถานะปัจจุบัน, แต่ยังเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการกำหนดแนวทางและดำเนินการเพื่อปรับปรุง การมีความโปร่งใสในการดำเนินงานขององค์กรช่วยสร้างความเชื่อมั่นและความรับผิดชอบในทีม
ความไว้วางใจสามารถเปลี่ยนวิธีการดำเนินงานของบริษัทได้ เมื่อธุรกิจเพิ่มความมั่นใจ พวกเขาจะเร่งการเติบโต นวัตกรรม และประสิทธิภาพการทำงาน ด้วยการวิเคราะห์ระดับความไว้วางใจ ผู้นำจะดำเนินการขั้นตอนแรกเพื่อสนับสนุนและกระตุ้นความเชื่อมั่นในองค์กรของตน ADGES มุ่งเน้นในด้านของพัฒนาองค์กรและให้คำแนะนำ ที่ออกแบบมาสำหรับองค์กรของคุณโดยเฉพาะสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ e-mail : info@adges.net Tel : 088-028-1111
Source: www.emergenetics.com